|
   |
|
|
|
|
|
|
|
ตำบลวังหมันเป็นตำบลหนึ่งในจำนวน 6 ตำบล ของอำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท ซึ่งอยู่ตอนเหนือของภาคกลางตอนบน อยู่ห่างจากอำเภอวัดสิงห์ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 16 กิโลเมตร ตามเส้นทางสายวัดสิงห์ - โคกสุก อยู่ห่างจากจังหวัดชัยนาทประมาณ 45 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 78.72 ตารางกิโลเมตร หรือ 49,200 ไร่ |
|
|
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 4,461 คน แยกเป็น |

 |
ชาย จำนวน 2,232 คน |
คิดเป็นร้อยละ 50.03 |

 |
หญิง จำนวน 2,229 คน |
คิดเป็นร้อยละ 49.97 |
จำนววนครัวเรือน 1,493 ครัวเรือน |
ความหนาแน่นเฉลี่ย 56.67 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
มีอาณาเขตติดต่อต่อกับตำบลต่างๆ ดังนี้ |
 |
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ต.หนองขุ่น |
อ.วัดสิงห์ |
จ.ชัยนาท |
 |
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ต.หนองแซง |
อ.หันคา |
จ.ชัยนาท |
|
 |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ต.หนองน้อย |
อ.วัดสิงห์ |
จ.ชัยนาท |
 |
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
ต.สะพานหิน |
อ.หนองมะโมง |
จ.ชัยนาท |
|
|
|
|
|
    |
|
|
 |
|

 |
ทำนา |
653 |
ครัวเรือน |
คิดเป็นร้อยละ 43.74 |

 |
ทำไร่ |
467 |
ครัวเรือน |
คิดเป็นร้อยละ 31.28 |

 |
เลี้ยงสัตว์ |
103 |
ครัวเรือน |
คิดเป็นร้อยละ 6.90 |

 |
อื่น ๆ |
270 |
ครัวเรือน |
คิดเป็นร้อยละ 18.08 |
|
รวม |
1,493 |
ครัวเรือน |
คิดเป็นร้อยละ 100 |
|
|
|
|
 |
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน ครัวเรือน |
 |
|
1 |
|
บ้านหนองอีเช้ง |
221 |
218 |
439 |
165 |
|
 |
2 |
|
บ้านหนองกะเบียน |
184 |
199 |
383 |
286 |
 |
|
3 |
|
บ้านหัวตะเฆ่ |
449 |
421 |
870 |
258 |
|
 |
4 |
|
บ้านวังหมัน |
359 |
386 |
756 |
283 |
 |
|
5 |
|
บ้านท่าข้าม |
341 |
349 |
690 |
208 |
|
 |
6 |
|
บ้านหนองโส |
273 |
254 |
527 |
198 |
 |
|
7 |
|
บ้านหนองแก |
257 |
262 |
519 |
156 |
|
 |
8 |
|
บ้านสระใหญ่ |
148 |
140 |
288 |
95 |
 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
|
รวม |
2,232 |
2,229 |
4,461 |
1,493 |
 |
|
ข้อมูล ณ 28 มีนาคม พ.ศ. 2557 |
|
|
|
|
ตำบลวังหมัน มีสภาพภูมิประเทศเป็นทั้งที่ราบลุ่มและที่ราบสูง โดยพื้นที่ในหมู่ที่ 1,2,8 และหมู่ที่ 3 บางส่วน เป็นพื้นที่ราบลุ่มมีน้ำไหลหลากทำให้ท่วมขังในฤดูฝน และพื้นที่หมู่ที่ 4 ,5,6,7 เป็นพื้นที่ราบสูง มีสภาพอากาศค่อนข้างแห้งแล้ง ปริมาณน้ำฝนตลอดทั้งปีไม่เพียงพอ ขาดแคลนน้ำเพื่อใช้ในการอุปโภค บริโภค และทำการเกษตร การชลประทานส่งน้ำไม่ถึง ประชาชนประกอบอาชีพทำนา โดยอาศัยน้ำฝน ตามฤดูกาล ได้เพียงปีละครั้งเดียว และทำไร่อ้อยและมันสำประหลัง ในฤดูแล้งขาดแคลนน้ำอุปโภคและบริโภค มีประปาเป็นระบบผิวดินและประปาบาดาล คุณภาพยังไม่ได้มาตรฐาน ไม่เพียงพอในฤดูแล้ง |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|